เสาหลักทั้งสิบ แห่งพระพุทธศาสนา
ISBN: 9789742602949
ผู้แต่ง : -
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : -
ปีที่พิมพ์ : 2561
จำนวนหน้า : 126
นิตยโพธิสัตว์ปฎิบัติกุศลกรรมบถสิบ และกระตุ้นให้ผู้อื่นปฏิบัติ เร่งเร้าและให้กำลังใจพวกเขาทำดังนั้น ปักหลักและยืนยันต่อผู้อื่นในกุศลกรรมบถสิบ แม้ในความฝันท่านก็ไม่มีวันทำการก้าวร้าวต่อต้านข้อปฏิบัติสิบข้อเหล่านั้น และท่านไม่ถนอมการก้าวร้าวเช่นนั้นไว้ในใจ แม้ในความฝันนิตยโพธิสัตว์ก็รักษากุศลกรรมบถสิบไว้ให้ปรากฎอยู่ในใจของท่าน
"กุศลกรรมบถสิบ"
ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นหลักการทางจริยธรรมทั้งสิบ ที่มีศักยภาพทางจิตวิญญาณ เนื้อหาที่ดูเหมือนจะเป็นพื้นฐาน แต่ท่านสังฆรักษิตะได้สาธิตให้เห็นว่าไม่มีเนื้อหาใดๆ ที่เป็น "พื้นฐาน" เหลือเกินจนทึกทักเอาเองได้เลย ในฐานะที่เป็นการสื่อสาระจากจิตที่ตรัสรู้ ข้อกำหนดหลากหลายและถ้อยคำตรัสสอนของพระพุทธเจ้า เป็นสิ่งที่สามารถหันไปพึ่งพิงได้ครั้งแล้วครั้งเล่า ความสดใหม่และใช้ประโยชน์ได้ไม่มีวันหมดสูญไป
ในการอธิบายชุดข้อปฏิบัตินี้ ท่านสังฆรักษิตะกำลังนำเสนอข้อกำหนดสำหรับชีวิตทางธรรม เพื่อการพิจารณาของสังฆะพุทธศาสนิกชนทั้งหมด ข้อกำหนดที่ฟันฝ่าชั้นต่างๆ ของรายละเอียดที่มักเป็นกิจจะลักษณะและเป็นกฎเกณฑ์เคร่งครัดไร้ชีวิตชีวา...ท่านสังฆรักษิตะกำลังเสนอกุญแจสู่เอกภาพ กุญแจสู่ประสบการณ์ของ "มหาสังฆะ" แก่ทุกสำนักและทุกนิกายของศาสนาพุทธ บรรดาผู้ที่ทึกทักกันว่า กุญแจเช่นนี้สามารถแก้ไขโดยการสังเวย ด้วยการทำให้การอุทิศตนทางธรรม และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอ่อนแอลง อาจมีกำลังใจที่จะพบว่า เป็นสิ่งตรงกันข้ามพอดีเลย
สารบัญ
คำอธิบาย...๓
คำนำ...๖
คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ห้า...๑๐
เกี่ยวกับผู้เชียน...๑๘
กุศลกรรมบถสิบ...๒๐
กุศลกรรมบทถาบด้านสนับสนุน...๒๑
อารัมภบท...๑
ภาคหนึ่ง: กุศลกรรมบถสิบโดยรวม...๑๑
ความสัมพันธ์ระหว่างสรณะกับข้อปฏิบัติ...๑๒
แหล่งที่มาในคัมภีร์ของกุศลธรรมบถสิบ...๑๗
กุศลธรรมบถสิบและการปฏิรูปเบ็ดเสร็จ...๓๑
กุศลกรรมบถสิบในฐานะหลักการแห่งจริยธรรม...๓๖
กุศลกรรมบถสิบในฐานะกฎแห่งการฝึกฝน...๔๐
ฯลฯ
ภาคสอง: กุศลกรรมบถแต่ละข้อ...๖๐
กุศลธรรมบถข้อที่หนึ่ง:
หลักการแห่งการงดเว้นจากการฆ่าสิ่งมีชีวิต หรือเมตตา...๖๑
กุศลกรรมบถข้อที่สอง:
หลักการแห่งการงดเว้นจากการเอาของที่ไม่ได้ให้ หรือทาน...๗๓
กุศลกรรมบถข้อที่สาม:
หลักการแห่งการงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม หรือความสันโดษ...๘๓
ฯลฯ
บทสรุป...๑๒๔
นิตยโพธิสัตว์ปฎิบัติกุศลกรรมบถสิบ และกระตุ้นให้ผู้อื่นปฏิบัติ เร่งเร้าและให้กำลังใจพวกเขาทำดังนั้น ปักหลักและยืนยันต่อผู้อื่นในกุศลกรรมบถสิบ แม้ในความฝันท่านก็ไม่มีวันทำการก้าวร้าวต่อต้านข้อปฏิบัติสิบข้อเหล่านั้น และท่านไม่ถนอมการก้าวร้าวเช่นนั้นไว้ในใจ แม้ในความฝันนิตยโพธิสัตว์ก็รักษากุศลกรรมบถสิบไว้ให้ปรากฎอยู่ในใจของท่าน
"กุศลกรรมบถสิบ"
ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นหลักการทางจริยธรรมทั้งสิบ ที่มีศักยภาพทางจิตวิญญาณ เนื้อหาที่ดูเหมือนจะเป็นพื้นฐาน แต่ท่านสังฆรักษิตะได้สาธิตให้เห็นว่าไม่มีเนื้อหาใดๆ ที่เป็น "พื้นฐาน" เหลือเกินจนทึกทักเอาเองได้เลย ในฐานะที่เป็นการสื่อสาระจากจิตที่ตรัสรู้ ข้อกำหนดหลากหลายและถ้อยคำตรัสสอนของพระพุทธเจ้า เป็นสิ่งที่สามารถหันไปพึ่งพิงได้ครั้งแล้วครั้งเล่า ความสดใหม่และใช้ประโยชน์ได้ไม่มีวันหมดสูญไป
ในการอธิบายชุดข้อปฏิบัตินี้ ท่านสังฆรักษิตะกำลังนำเสนอข้อกำหนดสำหรับชีวิตทางธรรม เพื่อการพิจารณาของสังฆะพุทธศาสนิกชนทั้งหมด ข้อกำหนดที่ฟันฝ่าชั้นต่างๆ ของรายละเอียดที่มักเป็นกิจจะลักษณะและเป็นกฎเกณฑ์เคร่งครัดไร้ชีวิตชีวา...ท่านสังฆรักษิตะกำลังเสนอกุญแจสู่เอกภาพ กุญแจสู่ประสบการณ์ของ "มหาสังฆะ" แก่ทุกสำนักและทุกนิกายของศาสนาพุทธ บรรดาผู้ที่ทึกทักกันว่า กุญแจเช่นนี้สามารถแก้ไขโดยการสังเวย ด้วยการทำให้การอุทิศตนทางธรรม และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอ่อนแอลง อาจมีกำลังใจที่จะพบว่า เป็นสิ่งตรงกันข้ามพอดีเลย
สารบัญ
คำอธิบาย...๓
คำนำ...๖
คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ห้า...๑๐
เกี่ยวกับผู้เชียน...๑๘
กุศลกรรมบถสิบ...๒๐
กุศลกรรมบทถาบด้านสนับสนุน...๒๑
อารัมภบท...๑
ภาคหนึ่ง: กุศลกรรมบถสิบโดยรวม...๑๑
ความสัมพันธ์ระหว่างสรณะกับข้อปฏิบัติ...๑๒
แหล่งที่มาในคัมภีร์ของกุศลธรรมบถสิบ...๑๗
กุศลธรรมบถสิบและการปฏิรูปเบ็ดเสร็จ...๓๑
กุศลกรรมบถสิบในฐานะหลักการแห่งจริยธรรม...๓๖
กุศลกรรมบถสิบในฐานะกฎแห่งการฝึกฝน...๔๐
ฯลฯ
ภาคสอง: กุศลกรรมบถแต่ละข้อ...๖๐
กุศลธรรมบถข้อที่หนึ่ง:
หลักการแห่งการงดเว้นจากการฆ่าสิ่งมีชีวิต หรือเมตตา...๖๑
กุศลกรรมบถข้อที่สอง:
หลักการแห่งการงดเว้นจากการเอาของที่ไม่ได้ให้ หรือทาน...๗๓
กุศลกรรมบถข้อที่สาม:
หลักการแห่งการงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม หรือความสันโดษ...๘๓
ฯลฯ
บทสรุป...๑๒๔