รวมเรื่องสั้น สเปโร โซนาตา ท่วงทำนองแห่งความหวัง
ISBN: 9786165882316
ผู้แต่ง : -
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : -
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 1 ธันวาคม 2564
จำนวนหน้า : 253
ผลงานของรมณ กมลนาวิน เล่มนี้ เสมือนภาพตัวแทนและหลักฐานบ่งชี้ประการหนึ่งของการที่นักเขียนไทยได้พาตัวเองเคลื่อนที่ไป กระทั่งวงการวรรณกรรมได้เคลื่อนขยับไปอีกหลายก้าว เรามองเห็นได้ถึงความเคร่งเครียด จริงจัง มีแบบแผน และเปิดใจกว้าง ทั้งหมดเหล่านี้สะท้อนถึงคุณลักษณะของความเป็น “มืออาชีพ” ที่นักเขียนรุ่นก่อนหน้านั้นหลายๆรุ่นมักจะจินตนาการไม่ถึง (จนกว่าจะได้รับรางวัลวรรณกรรมใหญ่ๆระดับชาติขึ้นมาสักรางวัลถึงจะคิดว่าจะยึดการเขียนเป็นอาชีพได้) ไม่น่าเชื่อว่า ในขณะที่นักเขียนรุ่นก่อนๆได้ล้มหายไปเป็นจำนวนไม่น้อย แต่นักเขียนรุ่นทศวรรษ 2550 กลับสามารถยึดการเขียนเป็นอาชีพได้หลายต่อหลายคน รมณ กมลนาวิน นั้นมีความมุ่งมั่นแน่วแน่ ตัดสินใจลาออกจากงานประจำมาตั้งแต่ พ.ศ. 2554 ฝึกปรืบกับการสร้างสรรค์งานจนครบทศวรรษในวาระของการออกรวมเรื่องสั้นเล่มนี้
หนังสือ รวมเรื่องสั้น สเปโร โซนาตา ท่วงทำนองแห่งความหวัง มาพร้อมที่คั่น 1 ชิ้น
ผลงานของรมณ กมลนาวิน เล่มนี้ เสมือนภาพตัวแทนและหลักฐานบ่งชี้ประการหนึ่งของการที่นักเขียนไทยได้พาตัวเองเคลื่อนที่ไป กระทั่งวงการวรรณกรรมได้เคลื่อนขยับไปอีกหลายก้าว เรามองเห็นได้ถึงความเคร่งเครียด จริงจัง มีแบบแผน และเปิดใจกว้าง ทั้งหมดเหล่านี้สะท้อนถึงคุณลักษณะของความเป็น “มืออาชีพ” ที่นักเขียนรุ่นก่อนหน้านั้นหลายๆรุ่นมักจะจินตนาการไม่ถึง (จนกว่าจะได้รับรางวัลวรรณกรรมใหญ่ๆระดับชาติขึ้นมาสักรางวัลถึงจะคิดว่าจะยึดการเขียนเป็นอาชีพได้) ไม่น่าเชื่อว่า ในขณะที่นักเขียนรุ่นก่อนๆได้ล้มหายไปเป็นจำนวนไม่น้อย แต่นักเขียนรุ่นทศวรรษ 2550 กลับสามารถยึดการเขียนเป็นอาชีพได้หลายต่อหลายคน รมณ กมลนาวิน นั้นมีความมุ่งมั่นแน่วแน่ ตัดสินใจลาออกจากงานประจำมาตั้งแต่ พ.ศ. 2554 ฝึกปรืบกับการสร้างสรรค์งานจนครบทศวรรษในวาระของการออกรวมเรื่องสั้นเล่มนี้
สารบัญ
ฉากที่สมจริงที่สุด
บนถนนนักเขียนหมายเลข 1
คืนที่อาลีถูกล่า
หญิงสาวกับชายชรา ผู้อ่านปรัชญาชีวิตของยิบราน
เรืองบางลำยังไม่กลับจากทะเล
ศพในแม่น้ำ
Sad Movie
ผู้ถูกทำลาย
หนทางรอด
เรื่องที่เริ่มจาก หญิงสาวผู้ก่อกำเนิดจากสายลม
ดาวส่องเมือง
คืนสังหาร
เช้าวันอาทิตย์ที่แสนเศร้า
สเปโร โซนาตา บทเพลงของคนจร
รมณ กมลนาวิน และนักเขียนไทยรุ่นทศวรรษ 2550 กับภารกิจคืนนิยามให้คำว่า “(วรรณกรรม) สร้างสรรค์” พิเชฐ แสงทอง
ข้อมูลนักเขียน