หนังสือ รากงอกก่อนตาย (ส.ศิวรักษ์)
ISBN: 9786167467023
ผู้แต่ง : ส.ศิวรักษ์
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : ศยาม
ปีที่พิมพ์ : 2555
จำนวนหน้า : 296
หนังสือแต่ละเล่มคือเสี้ยวหนึ่งของชีวิตนักเขียน หนังสือเล่มนี้อาจารย์ซึ่งเป็นครูของผมโดยแท้ และเป็นครูตลอดมาของผม แม้ในยามที่ทะเลาะขัดแย้งกันก็ตาม เป็นคนเขียน ซึ่งสำหรับผมแล้ว ผมต้องยอมรับว่า ที่ผมมาเป็นตัวเป็นตน ตั้งตัวเป็นเจ้าสำนักหนึ่งของการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างที่เป็นอยู่นี้ได้ ก็เพราะเป็นศิษย์มีครูและครูของผมก็คือสุลักษณ์ ศิวรักษ์ ประชา หุตานุวัตร เคยบอกกึ่งเตือนผมว่า ผมอ่านไทยน้อยเกินไป ก็จริง เพราะผมมีเวลาน้อยลงในช่วงนี้ของวัย มีงานจัดกระบวนการเรียนรู้มากขึ้น และสนุกท้าทายกับมันมาก แต่เมื่อได้มาอ่านไทยอีกครั้งกับหนังสือของอาจารย์เล่มนี้ ก็รู้สึกดีไม่น้อย โดยเฉพาะเมื่ออาจารย์เขียนถึงเรื่องเก่าๆ อย่างเช่น ในเล่มนี้ ก็มีเล่าเรื่องประวัติความเป็นมาของเขตคลองสาน เป็นต้น ความรู้เรื่องเจ้านายของอาจารย์ จนสามารถให้คำแนะนำเรื่องราชาศัพท์กับคนวงในได้ก็นับเป็นความวิเศษมหัศจรรย์อย่างหนึ่ง การอ่านหนังสือที่อาจารย์เขียนเล่าเรื่องเก่าๆ อ่านได้เพลินดี ผมอาจจะต้องฝึกนิสัยอย่างประชา ประชาเขาอ่านท่านพุทธทาส ผมคงต้องกลับไปอ่านท่านพุทธทาสบ้าง อ่านเจ้าคุณประยุทธ์หรือพระพรหมคุณาภรณ์อีกหน่อย และที่ขาดไม่ได้ ผมควรจะกลับมาอ่านหนังสือของอาจารย์เป็นเนืองนิตย์ผมว่าอาจารย์เป็นที่มาของภาษาหนังสือของผมทั้งหมดเลยทีเดียว....
สารบัญ
ข้อเขียน
อาศิรวาท
บรรพชนในเขตคลองสาน
ว่าด้วยสมโภช ๑๐๐ ปี เขตคลองสาน
คำพูด
ปัจฉิมกถา งาน ๑๐๐ ปี ชาตกาล อาจารย์หมอเสม พริ้งพวงแก้ว
การศึกษาเพื่อความเป็นมนุษย์
รพินทรนาถ ฐากูร ที่ข้าพเจ้ารู้จัก
จูเลียต อรธางคิณีของศรีบูรพา
ฯลฯ
ตกค้างจากรางวัลสันติภาพ นิวาโน
ส.ศิวรักษ์ รับรางวัลสันติภาพนิวาโน
สุลักษณ์ ศิวรักษ์ กับรางวัลสันติภาพนิวาโน
วิจารณ์หนังสือ
ภาวะอย่างไรหนอที่เรียกว่า “ปัญญาชน”
ลอกคราบปัญญาชนฝรั่ง
สัมภาษณ์
บทความที่เขียนเอง
บทความที่คนอี่นเขียน
มรณานุสติ
จดหมย
ฯลฯ
หนังสือแต่ละเล่มคือเสี้ยวหนึ่งของชีวิตนักเขียน หนังสือเล่มนี้อาจารย์ซึ่งเป็นครูของผมโดยแท้ และเป็นครูตลอดมาของผม แม้ในยามที่ทะเลาะขัดแย้งกันก็ตาม เป็นคนเขียน ซึ่งสำหรับผมแล้ว ผมต้องยอมรับว่า ที่ผมมาเป็นตัวเป็นตน ตั้งตัวเป็นเจ้าสำนักหนึ่งของการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างที่เป็นอยู่นี้ได้ ก็เพราะเป็นศิษย์มีครูและครูของผมก็คือสุลักษณ์ ศิวรักษ์ ประชา หุตานุวัตร เคยบอกกึ่งเตือนผมว่า ผมอ่านไทยน้อยเกินไป ก็จริง เพราะผมมีเวลาน้อยลงในช่วงนี้ของวัย มีงานจัดกระบวนการเรียนรู้มากขึ้น และสนุกท้าทายกับมันมาก แต่เมื่อได้มาอ่านไทยอีกครั้งกับหนังสือของอาจารย์เล่มนี้ ก็รู้สึกดีไม่น้อย โดยเฉพาะเมื่ออาจารย์เขียนถึงเรื่องเก่าๆ อย่างเช่น ในเล่มนี้ ก็มีเล่าเรื่องประวัติความเป็นมาของเขตคลองสาน เป็นต้น ความรู้เรื่องเจ้านายของอาจารย์ จนสามารถให้คำแนะนำเรื่องราชาศัพท์กับคนวงในได้ก็นับเป็นความวิเศษมหัศจรรย์อย่างหนึ่ง การอ่านหนังสือที่อาจารย์เขียนเล่าเรื่องเก่าๆ อ่านได้เพลินดี ผมอาจจะต้องฝึกนิสัยอย่างประชา ประชาเขาอ่านท่านพุทธทาส ผมคงต้องกลับไปอ่านท่านพุทธทาสบ้าง อ่านเจ้าคุณประยุทธ์หรือพระพรหมคุณาภรณ์อีกหน่อย และที่ขาดไม่ได้ ผมควรจะกลับมาอ่านหนังสือของอาจารย์เป็นเนืองนิตย์ผมว่าอาจารย์เป็นที่มาของภาษาหนังสือของผมทั้งหมดเลยทีเดียว....