โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ : การสถาปนาพระราชอำนาจนำในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ISBN: 9786165620482
แปลจากหนังสือ : -
ผู้แต่ง : ชนิดา ชิตบัณฑิตย์
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์สมมติ
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่สาม มีนาคม 2566
จำนวนหน้า : 616
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ : การสถาปนาพระราชอำนาจนำในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ชนิดา ชิตบัณฑิตย์- เขียน
ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น- คำนำ
สำนักพิมพ์สมมติ พิมพ์ครั้งที่ 3 มีนาคม 2566
ฟรี! ที่คั่นหนังสือในเล่ม
.เปิดประตูไปสู่เครือข่าย 'โครงการพระราชดำริ' ที่โยงใยถึง 'การเกิดและการขยายอำนาจ' ของสถาบันกษัตริย์ และในฐานะที่ 'โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ' ครอบคลุมพื้นที่ในหลายจังหวัดของประเทศไทย และเกี่ยวข้องกับกลุ่มคนจำนวนมาก ทั้งมีบทบาทสำคัญใหญ่หลวงในสังคมไทยอย่างยิ่งยวดและยาวนาน
.หนังสือ 'โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหนังสือฯ' จึงเป็นเล่มสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเมืองไทย รวมถึง 'การปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อย่างที่ ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น เขียนคำนำไว้ว่า
."ชนิดาใช้เลนส์ทฤษฎีอำนาจนำ (hegemony) ของ อันโตนิโอ กรัมชี่ (Antonio Gramsci) เพื่อจับการใช้อำนาจทั้งโดยตรงและโดยอ้อมซึ่งเน้นการครอบงำผ่านการยินยอมมากกว่าการบังคับ รวมถึงผลกระทบของการใช้อำนาจแบบนี้ ทั้งหมดนี้ก็เพื่อให้เข้าใจว่า ‘โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ’ เป็นเครื่องมือที่ใช้สร้างและเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์ รัฐ และประชาชน”
สารบัญ
บทที่ 1 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ: การสถาปนาพระราชอำนาจนำในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
บทที่ 2 โครงการพระราชดำริ : ยุคก่อกำเนิด (พ.ศ.2494 - 2500)
บทที่ 3 โครงการพระราชดำริ : ยุคการพัฒนาเพื่อความมั่นคง (พ.ศ.2501 - 2523)
บทที่ 4 โครงการพระราชดำริ : ยุคกำเนิดองค์กรประสานงาน (พ.ศ.2524 - 2530)
บทที่ 5 โครงการพระราชดำริ : ยุคกำเนิด ‘องค์กรเอกชน’ (พ.ศ.2531 - ปัจจุบัน)
บทที่ 6 ‘เครือข่ายในหลวง’ : การสร้างกลุ่มทางประวัติศาสตร์และปัญญาชนของโครงการพระราชดำริ
บทที่ 7 บทสรุป: การสถาปนาอำนาจนำ อุดมการณ์ และปฏิบัติการทางอุดมการณ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ