ภูมิศาสตร์: ฐานความรู้สู่ความเข้าใจโลก - นราธร สายเส็ง
ISBN: 9786169484905
ผู้แต่ง : นราธร สายเส็ง
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : คีย์เวิร์ด (KEYWORD)
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งแรก มิถุนายน 2568
จำนวนหน้า : 432 หน้า
ภูมิศาสตร์: ฐานความรู้สู่ความเข้าใจโลก
(GEOGRAPHY: Foundational Knowledge for Understanding the World)
โดย นราธร สายเส็ง
ปกอ่อน 432 หน้า เข้าเล่มอย่างดีเย็บกี่ไสกาว
สํานักพิมพ์คีย์เวิร์ด(KEYWORD) จัดพิมพ์
ภูมิศาสตร์: ฐานความรู้สู่ความเข้าใจโลก
(GEOGRAPHY: Foundational Knowledge for Understanding the World)
นราธร สายเส็ง เขียน
ปกอ่อน 432 หน้า เข้าเล่มอย่างดีเย็บกี่ไสกาว
สํานักพิมพ์คีย์เวิร์ด (KEYWORD) พิมพ์ครั้งแรก มิถุนายน 2568
.
จากปกหลัง
“ความสำคัญของการเรียนรู้ภูมิศาสตฐ์ไม่ได้จบอยู่ที่เนื้อหาสาระที่ตายตัวแน่นิ่งหรือแชเชือนอยู่ในห้องเรียน หากแต่ทุกปรากฏการณ์ หลากหลายสถานการณ์ ต่างที่ ต่างเวลา นําพาไปสู่การเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งใหม่อยู่เสมอ”
-บางส่วนจากบทที่ 7 ภูมิศาสตร์กับการเรียนรู้
.
บางส่วนจากคำนำผู้เขียน
ภูมิศาสตร์ คือศาสตร์ที่ว่าด้วยการบรรยายหรืออธิบายเกี่ยวกับโลก เป็นวิชาที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ภูมิศาสตร์มีวิวัฒนาการมาอย่างยาวนาน และมีพรมแดนความรู้ที่ขยายออกมาอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้องค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็นสามสาย ได้แก่ ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์ และภูมิศาสตร์เทคนิค
.
ผู้เขียนต้องการฉายภาพการศึกษาภูมิศาสตร์ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับศาสตร์ต่าง ๆ และพยายามนําเสนอประเด็นทางภูมิศาสตร์ที่เป็นฐานความรู้ที่จำเป็น หรืออาจเพิ่มเติมมากกว่าภูมิศาสตร์พื้นฐาน อีกความตั้งใจของหนังสือนี้คือต้องการให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจภูมิศาสตร์ และสามารถเชื่อมโยงต่อยอดสู่อาณาบริเวณความรู้ในมิติอี่นต่อไปได้
.
เกี่ยวกับผู้เขียน
นราธร สายเส็ง อาจารย์ประจําสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
วท.ม. ภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วท.บ. เอกภูมิศาสตร์ โทการสื่อสารมวลชน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ป.บัณฑิต วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
.
สารบัญ
คํานํา
บทที่ 1 ว่าด้วยการศึกษาภูมิศาสตร์
วิวัฒนาการของการศึกษาภูมิศาสตร์
ว่าด้วยความหมายและขอบข่ายการศึกษา
เกร็ดความรู้: การนับช่วงเวลา
ความหมายของภูมิศาสตร์
ขอบข่ายการศึกษาทางภูมิศาสตร์
กรอบการศึกษา 5 ประการทางภูมิศาสตร์
เอกสารอ้างอิง
.
บทที่ 2 ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งกับภูมิศาสตร์
เอกภพและวัตถุในท้องฟ้า
ความเป็นศนย์กลางของระบบ
การกําเนิดเอกภพ
ระบบสุริยะ
โลกในฐานะดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
การรับรู้เกียวกับเอกภพและโลก
ความเชื่อเกี่ยวกับโลกและข้อพิสูจน์ว่าด้วยโลกกลม
เอกสารอ้างอิง
.
บทที่ 3 เส้นสมมติทางภูมิศาสตร์กับความเข้าใจโลก
เส้นโครงทางภูมิศาสตร์
วงกลมละติจูด
มิติทางภูมิศาสตร์กับเวลา
-เวลามาตรฐานกรีนิช
-เวลาท้องถิ่น
-เขตเวลา
-เวลาออมแสง
การกําหนดเวลา
-ช่วงเวลาและปฏิทิน
เกร็ดความรู้: เครืองมือบอกเวลา
ปรากฏการณ์สําคัญทางภูมิศาสตร์
ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
เอกสารอ้างอิง
.
บทที่ 4 เครื่องมือสําคัญทางภูมิศาสตร์
แผนที่
-ระบบพิกัดในแผนที่
-ชนิดของแผนที่
-องค์ประกอบของแผนที่
-การอ่านและแปลความหมายแผนที่
-มาตราส่วนแผนที่
ทิศทางและการบอกทิศ
-การใช้แผนที่และเข็มทิศ
การรับรู้จากระยะไกล
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ระบบกําหนดตําแหน่งบนโลก
หลักการและการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่น่าสนใจ
เอกสารอ้างอิง
.
บทที่ 5 ภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์
ภูมิลักษณ์พื้นผิวโลก
-ภูมิลักษณ์พื้นทะเล
กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน
-ภูมิลักษณ์ภูเขาไฟ
-ลักษณะที่สัมพันธ์กับภูเขาไฟ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายนอก
-ภูมิลักษณ์จากการกระทําของน้ำผิวดิน
-ภูมิลักษณ์จากการกร่อนของน้ำ
-ภูมิลักษณ์จากการสะสมทับถมตัวของน้ำ
-ภูมสิกษณ์จากการกระทําของน้ำใต้ดิน
-ภูมิลักษณ์จากการกระทําของน้ำทะเล
-ภูมิลักษณ์จากการกร่อนโดยน้ำทะเล
-ภูมิลักษณ์จากการสะสมตัวโดยน้ำทะเล
ชายฝั่งทะเล
พืดปะการัง
ภูมิลักษณ์จากการกระทําโดยธารนํ้าแข็ง
-ภูมิลักษณ์ที่เกิดจากการกระทําของธารนํ้าแข็งภูเขา
-ภูมิลักษณ์ที่เกิดจากการกระทําของธารนํ้าแข็งทวีป
ภูมิลักษณ์จากการกระทําโคยลม
-ภูมิลักษณ์ที่สัมพันธ์กับการกร่อนโดยลม
-ภูมิลักษณ์การสะสมตัวโดยลม
ทะเลทราย
เอกสารอ้างอิง
.
บทที่ 6 ภูมิศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
ความแปรปรวนของสภาพอากาศและภูมิอากาศ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
แผ่นดินไหว
สึนามิ
วาตภัย
อุทกภัย
ภัยแล้ง
ไฟป่า
คลื่นความร้อน
กรณีตัวอย่างเกี่ยวกับน้ำทางภูมิศาสตร์
-ปัญหาน้ำใต้ดิน
-ปัญหาอันเนื่องมาจากเขื่อน
-ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง
การจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ
กรณีศึกษาการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ
-กรณีศึกษาการเกิดสึนามิในประเทศไทย ปี 2547
-กรณีศึกษาการเกิดพายุหมุนนาร์กิส ปี 2551
เอกสารอ้างอิง
.
บทที่ 7 ภูมิศาสตร์กับการจัดการเรียนรู้
การรู้ภูมิศาสตร์
การเรียนการสอนวิชาภูมิศาสตร์ในโรงเรียน
การศึกษาภูมิศาสตร์ภาคสนาม
ภูมิศาสตร์กับความเชื่อมโยง
-ภูมิศาสตร์กับโคโรนาไวรัส
-ภูมิศาสตร์ในชีวิตประจําวันกับการเดินทาง
-ภูมิศาสตร์ของความเข้าใจผิดและความไม่เข้าใจ: พื้นที่ เวลา และแผนที่
เอกสารอ้างอิง
.
บรรณานกรม
ดัชนี
เกี่ยวกับผู้เขียน