การปฏิวัติฝรั่งเศส: จากวันยึดคุกบาสตีย์ถึงรัฐประหารของนโปเลียน (1789–1799) - จรัล ดิษฐาอภิชัย
ISBN: 9786164861367
ผู้แต่ง : จรัล ดิษฐาอภิชัย
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : ศยามปัญญา
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่สาม มีนาคม 2568
จำนวนหน้า : 800
การปฏิวัติฝรั่งเศส: จากวันยึดคุกบาสตีย์ถึงรัฐประหารของนโปเลียน (1789 – 1799)
โดย จรัล ดิษฐาอภิชัย
พิมพ์ครั้งที่ 3 รวมเนื้อหาทั้งหมดจาก 2 เล่มในการพิมพ์ครั้งก่อนๆ มาอยู่แบบครบๆ ให้จบในเล่มเดียว!
หนังสือระดับตำนาน ผลงานอันทรงคุณค่า
การปฏิวัติฝรั่งเศส: จากวันยึดคุกบาสตีย์ถึงรัฐประหารของนโปเลียน (1789–1799)
โดย จรัล ดิษฐาอภิชัย
.
• ปกอ่อน (ปกปีก)
• ขนาด 15 x 23 cm
• 800 หน้า เข้าเล่มเย็บกี่
• สำนักพิมพ์ศยาม พิมพ์ครั้งที่สาม มีนาคม 2568
• ฟรี! ที่คั่นหนังสือในเล่ม
.
"การปฏิวัติฝรั่งเศส" ให้รายละเอียดทั้งในเชิงประเด็น เหตุการณ์ และบุคคล หรือตัวละครสำคัญในการปฏิวัติครั้งนี้อย่างละเอียดที่สุด ตั้งแต่วันยึดคุกบาสตีย์ถึงรัฐประหารของนโปเลียน หรือตั้งแต่ ค.ศ.1789-1799 นำเสนอแบบเล่าเรื่องราว สะท้อนให้เห็นถึงสายธารของการปฏิวัติที่เต็มไปด้วยความเชี่ยวกราก ไม่สงบนิ่ง และพลิกผัน เป็นหนังสือประวัติศาสตร์อ่านสนุก เพลิดเพลิน ต้องตามติดชนิดหน้าต่อหน้า วางไม่ลง
.
พิมพ์ครั้งที่ 3 สำนักพิมพ์ศยามรวมเนื้อหาทั้งหมดจาก2เล่มในการพิมพ์ครั้งก่อนๆ มาอยู่แบบครบๆ ให้จบในเล่มเดียว
.
เกี่ยวกับผู้เขียน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรัล ดิษฐาอภิชัย ปริญญาโท ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปารีส 7, ประกาศนียบัตรวิชาการชั้นสูงทางปรัชญา (การเมือง) มหาวิทยาลัยปารีส 1 (ซอร์บอนน์)
.
สารบัญ
คํานำสํานักพิมพ์
ภาค 1 การก่อตัวของการปฏิวัติ
ความเสื่อมของระบบเก่า
ฐานันดรที่สาม: พลังใหม่ของสังคม
ความคิดของปรัชญาแสงสว่าง
กบฏขุนนาง
การเรียกประชุมสภาฐานันดรทั่วไป
ภัยธรรมชาติและความขัดแย้งทางความคิด
.
ภาค 2 การปฏิวัติเปิดฉาก
วันเปิดประชุมสภาฐานันดรทั่วไป
พลังมหาประชาชน
ยึดคุกบาสตีย์
ชาวนาปฏิวัติ
วันล้มเลิกสิทธิศักดินา
ความเป็นมาของศัพท์ศักดินาในฝรั้งเศส (FÉODALITÉ)
คําประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง
ปฐมบทในการว่างรัฐธรรมหูญ
ประชาชนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน
ปฏิวัติสู่สังคมใหม่
มาร์กี เดอ ลาฟาแยต บุรุษแห่งปี
ยุทธการยึดป้อมปราการ
.
ภาค 3 การปฏิวัติก้าวรุดหน้า
การต่อต้านการปฏิวัติ
งานฉลองครบรอบปฏิวัติ
การสังหารหมู่ที่น็องซี
อาวุรเพื่อการปฏิวัติ
การปฏิรูปศาสนจักร
ความรักในสถานการณ์ปฏิวัติ
การปฏิวัติส่อเค้ายุ่งยาก
มิราโบ: ผู้ยิ่งใหญ่ภายหลังอสัญกรรม
การหลบหนีของพระเจ้าหลุยส์
จากคืนวันนั้นที่วาแรนน์ถึงปารีส
การสังหารหมุที่ ชอง-เดอ-มารส์
รัฐธรรมหูญฉบับแรกของราขอาณาจักรฝรังเศส
สภานิติบัญญัติชุดแรก
.
ภาค 4 ความยุ่งยากของการปฏิวัติ
จุดเริ่มต้นการปฏิวัติครั้งที่สอง
การประกาศสงครามกับออสเตรีย
ความขัดแย้งระหว่างกษัตริย์กับกลุ่มฌิรงแดง
ชาวปารีสบุกพระราชวังตุยเลอรี
ก่อนวันลุกขึ้นสู้ 10 สิงหาคม
10 สิงหาคม การปฏิวัติครั้งที่สอง
สภานิบัญญัติกับการลุกขึ้นสู้ 10 สิงหาคม
.
ภาค 5 การปฏิวัติครั้งที่สอง
การสังหารหมู่เดือนกันยายน
ชัยชนะครั้แรกเหนือสมรภูมิวาลมี
การประกาศตั้งสาธารณรัฐฝรั่งเศส
.
ภาค 6 ภาวะการเมืองช่วงแรกของสาธารณรัฐ
การต่อสู้ระหว่างฌิรงแดงกับมงตาญญารด์
ชาววองเดลุกขึ้นต่อต้าน
สถานการณ์ต่างจังหวัด: การปกครองของฌาโกแบง
ฌิรงแดงต่อต้านดองตง
ยุทธการฌองมาปและการยึดครองเบลเยียม
มาดามโรลองด์ ดองตง และโรแบสปิแอร์ สามผู้ยิ่งใหญ่
.
ภาค 7 การดำเนินคดีและประหารชีวิตพระเจ้าหลุยส์ที่ 16
การดำเนินคดีพระเจ้าหลุยส์ที่ 16
พระเจ้าหลุยส์ในเลอ ตองเปลอะ โรแบสปิแอร์ที่สภา
การไต่สวนพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ของสภาคอนเวนชั่น
การโต้แย้งแผนการศึกษาแห่งชาติและปัญหาดุ๊ก ดอร์เลออง
ผู้ปกป้องกษัตริย์และข่มขู่ของคอมมูนปารีส
วันตัดสินประหารชีวิตพระเจ้าหลุยส์ที่ 16
21 มกราคม 1793 วันประหารชีวิตพระเจ้าหลุยส์ที่ 16
.
ภาค 8 ความยุ่งยากในการสร้างสาธารณรัฐ
วันใหม่ของสาธารณรัฐและการประกาศสงครามกับอังกฤษ
ความยุ่งยากทางการเมือง
ขบวนการ 10 มีนาคม และการตั้งศาลปฏิวัติ
การทรยศของดูมูริเย่
การจัดตั้งองค์การปฏิวัติสูงสุด
ศาลปฏิวัติ คดีมาราต์ และการดิ้นรนเฮือกสุดท้ายของกลุ่มฌิรงแดง
.
ภาค 9 การก่อตัวของรัฐบาลปฏิวัติ
ความพยายามโค่นล้มกลุ่มฌิรงแดง
วันจับกุมกลุ่มฌิรงแดง
ปารีสและการขบถต่างจังหวัด 1793
ความตายของมาราต์
สถานการณ์การเมืองหลังมาราต์
วิกฤติเดือนสิงหาคม 1793
.
ภาค 10 ยุคสยดสยอง [La Terreur]
การเคลื่อนไหว 4-5 กันยายน
ฝรั่งเศสเริ่มมีชัยในสงครามภายนอก
การประหารชีวิตพระนางมารี อองตัวแนตกับผู้นำกลุ่มฌิรงแดง
ยุคความสยดสยอง (LA TERREUR)
รัฐบาลปฏิวัติ (GOUVERNEMENT RÉVOLUTIONNAIRE)
แนวรบหลายด้านของรัฐบาลปฏิวัติ
.
ภาค 11 ความเป็นใหญ่ของคณะกรรมการ ความมั่นคงสาธารณชน
อํานาจเบ็ดเสร็จของคณะกรรมการความมั่นคงสาธารณชน
การจับกุมกลุ่มดองตง
การปราบปรามครั้งใหญ่
การดำเนินนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลปฏิวัติ
ความยิ่งใหญ่ของโรแบสปิแอร์
กฎหมายประหารผู้คนครั้งใหญ่ (LOI DU 22 PRAIRIAL)
ชีวิตบั้นปลายของโรแบสปิแอร์
ความสยดสยองครั้งใหญ่
.
ภาค 12 การโค่นล้มกลุ่มโรแบสปิแอร์
สุสานฝังศพจากิโยตีนและวิกฤติเดือนกรกฎาคม 1794
คําแถลงครั้งสุดท้ายของโรแบสปิแอร์
คืนก่อนวันจับกุมโรแบสปิแอร์
วันโค่นล้มกลุ่มโรแบสปิแอร์
คอมมูนปารีสเตรียมสู้
การบุกศาลาเทศบาลปารีสและการจับกุมโรแบสปิแอร์อีกครั้ง
การประหารชีวิตโรแบสปิแอร์
.
ภาค 13 การเมืองผ่อนคลายของคณะแตร์มีดอเรียน
การเมืองของคณะแตร์มีดอร์เรียน
ปารีสสดใสอีกครา
การปิดคลับฌาโกแบงและการขยายตัวของฝ่ายขวา
ภาวะเศรษฐกิจฝืดเคือง ชาวปารีสเตรียมประท้วงครั้งใหญ่อีกครั้ง
การลุกขึ้นสู้ครั้งสุดท้ายของชาวปารีส
ขนมปังและรัฐธรรมนูญ 1793
สถานการณ์หลังการลุกขึ้นสู้ 1 ถึง 3 PRAIRIAL
รัฐธรรมนูญปี 1795
.
ภาค 14 ยุคดีแร็คตัวและสงครามของนโปเลียนครั้งที่ 1
การลุกขึ้นสู้ของฝ่ายกษัตริย์นิยมและการเลือกตั้งสมาริกสภา
สภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมภายใต้รัฐบาลใหม่
การปราบปรามกลุ่มบาเบิฟและพวกกษัตริย์นิยม
จุดเริ่มต้นยุทธการอิตาลีของนโปเลียน
การเลือกตั้ง (ซ่อม) สมาชิกรัฐสภาปี 1797
รัฐประหาร 18 FRUCTIDOR
กรณี 11 พฤษภาคม 1798
การขยายสงครามไปยังอียิปต์
.
ภาค 15 วาระสุดท้ายของการปฏิวัติ
สภาพสังคมใหม่ภายใต้ระบอบดีแร็คตัว
วิกฤติการณ์สุดท้าย
รัฐประหาร 18 BRUMAIRE: วาระสุดท้ายของการปฏิวัติ
.
ภาค 16 ภาคผนวกบุคคลและเหตุการณ์สําคัญ
(1)สรุปลักษณะและเนื้อหาสำคัญของการปฏิวัติฝรั่งเศส
(2)ผลพวงของการปฏิวัติฝรั่งเศส
(3)ประเพณีสืบทอดจากการปฏิวัติฝรั่งเศส
บุคคลสำคัญของการปฏิวัติฝรั่งเศส
ลําดับเหตุการณ์สําคัญของการปฏิวัติฝรั่งเศส