มนุษยศาสตร์ที่แปรเปลี่ยน ในโลกที่เปลี่ยนแปลง
ISBN: 9789743159312
ผู้แต่ง : อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : สยามปริทัศน์
ปีที่พิมพ์ : 2559
จำนวนหน้า : 355
มนุษยศาสตร์ที่แปรเปลี่ยน ในโลกที่เปลี่ยนแปลง
เป็นหนังสือรวมทบความจากงานสัมมนาเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 8 เป็นการนำการศึกษามนุษยศาสตร์ที่ทำให้เข้าใจความคิดเกี่ยวกับมนุษย์เข้ามาอยู่ในบริบทของประวัติศาสตร์ กรอบคิดหลักของเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 8 จึงเป็นการทำความเข้าใจปมประเด็นที่สำคัญของการศึกษามนุษยศาสตร์ ที่จะคืนการตัดสินใจหรือการปลดปล่อยให้แก่มนุษย์ อันจำเป็นต้องพิจารณาสองมิติด้วยกัน มิติแรกได้แก่ การทำให้เกิดความเข้าใจความเป็นมนุษย์ ซึ่งต้องสัมพันธ์กับอีกมิติหนึ่งได้แก่ การทำความเข้าใจเกี่ยวกับโลก หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือการทำความเข้าใจในตำแหน่งแห่งที่ของมนุษย์แต่ละกลุ่มในสังคมที่รับรู้ตนเองและรับรู้โลกแตกต่างกัน และได้เลือกสรรแนวทางในการรับรู้ตนเองและรับรู้โลกมาชี้นำปฏิบัติการในชีวิตที่ไม่เหมือนกัน
มนุษยศาสตร์ที่แปรเปลี่ยน ในโลกที่เปลี่ยนแปลง
เป็นหนังสือรวมทบความจากงานสัมมนาเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 8 เป็นการนำการศึกษามนุษยศาสตร์ที่ทำให้เข้าใจความคิดเกี่ยวกับมนุษย์เข้ามาอยู่ในบริบทของประวัติศาสตร์ กรอบคิดหลักของเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 8 จึงเป็นการทำความเข้าใจปมประเด็นที่สำคัญของการศึกษามนุษยศาสตร์ ที่จะคืนการตัดสินใจหรือการปลดปล่อยให้แก่มนุษย์ อันจำเป็นต้องพิจารณาสองมิติด้วยกัน มิติแรกได้แก่ การทำให้เกิดความเข้าใจความเป็นมนุษย์ ซึ่งต้องสัมพันธ์กับอีกมิติหนึ่งได้แก่ การทำความเข้าใจเกี่ยวกับโลก หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือการทำความเข้าใจในตำแหน่งแห่งที่ของมนุษย์แต่ละกลุ่มในสังคมที่รับรู้ตนเองและรับรู้โลกแตกต่างกัน และได้เลือกสรรแนวทางในการรับรู้ตนเองและรับรู้โลกมาชี้นำปฏิบัติการในชีวิตที่ไม่เหมือนกัน
คํานําจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
คำนํา
ถักถ้อยร้อยประเด็น: มนุษยศาสตร์ที่แปรเปลี่ยนในโลกที่เปลี่ยนแปลง
สายชล สัตยานุรักษ์
KeywordsforStudyingReligion, PowerandtheSelf
CraigJ. Reynolds
การปฏิรูปกฎหมายและการศาลในเจ็ดหัวเมืองมลายูในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20
ปิยดา ชลวร
ชีวิตสามัญชนในภาคเหนือตอนล่างกับการก้าวสู่รัฐสมัยใหม่ของสยาม
ณัฏฐพงษ์ สกุลเล่ียว
ระบบกฎหมาย/ระบบตุลาการในยุคปฏิรูปกฎหมายพ.ศ. 2434–2454
กฤษณ์พชร โสมณวัตร
“Doasyouplease, comrades, makeadogofme, spitonmetoo”: InitiationCeremonies, theRapeofHistoryandtheRavagesofPoliticalFanaticisminMilanKundera’sTheJoke
VeritaSriratana
DiasporicMemory, Commodity, andthePoliticsoftheGiftinMoniqueTruong’sTheBookofSalt
NanthanootUdomlamun
สาวพะเยา: บาดแผลในบทเพลง
สุนทร สุขสราญจิต
การแก้ไขปัญหาภาคใต้ครั้งแรกของรัฐไทย: ข้อเรียกร้องของมลายูมุสลิมกับการตอบสนองของรัฐไทย
พุทธพล มงคลวรวรรณ
“พระป่า” ธรรมยุตอีสาน ในบริบททางประวัติศาสตร์พุทธศตวรรษที่ 25 ภาพสะท้อน “ทวิอัตลักษณ์” ระหว่างอำนาจรัฐและท้องถิ่น
อาสา คําภา
ศิลป พีระศรี กับความหมายทางสังคมและการเมืองของศิลปะแบบใหม่หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 ถึงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2
เกษรา ศรีนาคา