สงครามสถานภาพ: เยอรมนี ญี่ปุ่น และไทย กับการเถลิงอำนาจในการเมืองระหว่างประเทศ
ISBN: 9786164860889
แปลจากหนังสือ : -
ผู้แต่ง : พีระ เจริญวัฒนนุกูล
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์ศยาม
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งแรก เมษายน 2566
จำนวนหน้า : 345
สงคราม สถานภาพ: เยอรมนี ญี่ปุ่น และไทย กับการเถลิงอำนาจในการเมืองระหว่างประเทศ
โดย พีระ เจริญวัฒนนุกูล
ฟรี! ที่คั่นหนังสือในเล่ม
.เหตุใด "เยอรมนี" ชาติที่ยุทธศาสตร์ทางทะเลไม่สำคัญเท่ากับยุทธศาสตร์ทางบก
กลับต้องการสร้างกองเรือรบแข่งขันกับมหาอำนาจทางทะเลที่พระอาทิตย์ไม่ตกดินอย่างอังกฤษ
.เหตุใด "ญี่ปุ่น" ชาติตะวันออกที่ถูกปรามาสจากชาติตะวันตกว่าไร้ความศิวิไลซ์
ถึงหาญกล้าทำสงครามกับจักรวรรดิรัสเซียที่มีกองทัพอันเกรียงไกรของพระเจ้าซาร์
.เหตุใด "ไทย" ชาติเล็ก ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ถึงกล้าเปิดฉากโจมตีและเป็นปฏิปักษ์กับจักรวรรดิฝรั่งเศสในดินแดนอินโดจีน
.หนังสือ “สงคราม สถานภาพ: เยอรมนี ญี่ปุ่น และไทย กับการเถลิงอำนาจในการเมืองระหว่างประเทศ” เขียนขึ้นเพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของ “ความกังวลด้านสถานภาพ” ของรัฐในการเมืองระหว่างประเทศ ที่หลายครั้งนำไปสู่สงคราม โดยที่ปัจจัยด้านความมั่นคง เศรษฐกิจและอำนาจ ไม่อาจใช้เป็นกรอบในการวิเคราะห์ และค้นหาสาเหตุแห่งความขัดแย้งได้อย่างครบถ้วนกระบวนความ
สารบัญ
คำนำ
(1) บทนำ: สถานภาพทางสังคมกับการเมืองระหว่างประเทศ
(2) กรอบแนวคิดในการศึกษา: ทฤษฎีด้านสถานภาพและการเป็นที่ยอมรับ
(3) “ครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะไม่หดหัวอีกต่อไป” : สถานภาพและนโยบายแข็งกร้าวของเยอรมนี ค.ศ. 1890-1914
(4) “สงครามระหว่างชาติศิวิไลซ์ควรค่าแก่การต่อสู้ยิ่งนัก” : แผนโค่นรัสเซียของญี่ปุ่น ค.ศ. 1904-1905
(5) “เตรียมตัวเถิดพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย” : ไทยรบฝรั่งเศส พ.ศ. 2483
(6) บทสรุปและนัยต่อกรณีอื่น ๆ
บรรณานุกรม
ที่มาของภาพ
เกี่ยวกับผู้เขียน