ไทยปิฎก: ประวัติศาสตร์การเมืองสังคมร่วมสมัยของพุทธศาสนาไทย
ISBN: 9786168215104
ผู้แต่ง : ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : ILLUMINATIONS EDITIONS
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 1 กันยายน 2562
จำนวนหน้า : 416
หลังจากการเกิดรัฐประหาร 2557 การกำหนดตำแหน่งแห่งที่และอำนาจในวงการสงฆ์ในรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติที่ให้ความสำคัญกับการคุ้มครองพุทธศาสนา จะนำมาสู่ปัญหาในมิติทางสังคมการเมืองอย่างกว้างขวาง หนังสือเล่มนี้จะชี้ให้เห็นเหลี่ยมคู่ทางการเมืองของพุทธศาสนาในสังคมไทยที่แนบแน่นอยู่กับบริบทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ปฏิวัติสยาม 2457 เป็นต้นมา
สารบัญ
คำนำ
คำขอบคุณ
คำวิพากษ์เชิงแลกเปลี่ยน
บทนำ ไทยปิฎก หนึ่งในตะกร้าของความเป็นไทย
บทที่ 1 ความเยาว์วัย
1.1 พ.ร.บ.คณะสงฆ์ 2484 จุดกำเนิดและจุดจบของแนวคิดประชาธิปไตย
1.2 วิหารไม่ว่าเปล่า: พุทธศาสนาหัวก้าวหน้าที่ถูกลดความหมายทางการเมือง
บทที่ 2 ความกลัว-ความหลงใหล
2.1 ความน่าหวาดหวั่นของยุคกึ่งพุทธกาล
2.2 สงครามเย็น และพุทธศาสนา-ราชาชาตินิยม
2.3 "จิตนิยม-ประวัติศาสตร์": เรื่องเล่าเชิงลี้ลับกับอุดมคติของพุทธศาสนาแบบไทยช่วงทศวรรษ 2500-2520
2.4 แผนนารีพิฆาต โครงเรื่องทางประวัติศาสตร์ที่พุทธใช้ฆ่านารี
บทที่ 3 ความเหนือกว่า-ความแปลกแยก
3.1 ธัมมิกสังคมนิยมแบบเผด็จการ! วิพากษ์แนวคิดทางการเมืองของพุทธทาสภิกขุ
3.2 คำโกหก-ความจริง ในฐานะแอกและภารกิจทางศีลธรรมไทย
3.3 จากแพะรับบาปสู่ศาสนามวลชน และอำนาจที่มุ่งครอบงำรัฐ
บทที่ 4 บทสรุป
บรรณานุกรม