ประวัติศาสตร์ความคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
ISBN: 9789749936146
ผู้แต่ง : นภาพร อติวานิชยพงศ์
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : สร้างสรรค์
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 2 กันยายน 2552
จำนวนหน้า : 192
ชีวิตทางวิชาการของผู้เขียนมีสิ่งสำคัญที่จำเป็นต้องกล่าวถึงอยู่ 2 เรื่อง เรื่องแรก คือการได้รู้จักและเขียนวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับความคิดของกลุ่มเศรษฐศาสตร์การเมือง เรื่องที่ 2 คือ การได้ทำงานและเขียนงานวิชาการเกี่ยวกับขบวนการแรงงานไทย
แนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองมีส่วนช่วยทำให้สังคมไทยตระหนักว่า มีการเอารัดเอาเปรียบ และความแตกต่างอย่างมากในรายได้และทรัพย์สินในประเทศของเรา และประเทศของเราทั้งประเทศก็ถูกเอาเปรียบโดยประเทศมหาอำนาจ สำนักคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองมีส่วนช่วยทำให้ผู้คนมองปรากฏการณ์ในสังคมเป็นระบบ เป็นโครงสร้าง และเป็นประวัติศาตร์ และให้ความสำคัญกับผู้คนธรรมดาสามัญ มีจินตนาการถึงและเชื่อมั่นว่า จะมีสังคมไทยอนาคตที่ผู้คนทั่วไปจะมีชีวิตที่ดีสมบูรณ์ได้ เป็นกระแสความคิดที่มีอิทธิพลและเป็นส่วนหนึ่งของอุดมการณ์ของขบวนการทางสัมคมในประเทศไทย โดยเฉพาะขบวนการภาคประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรในท้องถิ่นและภูมิภาค
ชีวิตทางวิชาการของผู้เขียนมีสิ่งสำคัญที่จำเป็นต้องกล่าวถึงอยู่ 2 เรื่อง เรื่องแรก คือการได้รู้จักและเขียนวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับความคิดของกลุ่มเศรษฐศาสตร์การเมือง เรื่องที่ 2 คือ การได้ทำงานและเขียนงานวิชาการเกี่ยวกับขบวนการแรงงานไทย
แนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองมีส่วนช่วยทำให้สังคมไทยตระหนักว่า มีการเอารัดเอาเปรียบ และความแตกต่างอย่างมากในรายได้และทรัพย์สินในประเทศของเรา และประเทศของเราทั้งประเทศก็ถูกเอาเปรียบโดยประเทศมหาอำนาจ สำนักคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองมีส่วนช่วยทำให้ผู้คนมองปรากฏการณ์ในสังคมเป็นระบบ เป็นโครงสร้าง และเป็นประวัติศาตร์ และให้ความสำคัญกับผู้คนธรรมดาสามัญ มีจินตนาการถึงและเชื่อมั่นว่า จะมีสังคมไทยอนาคตที่ผู้คนทั่วไปจะมีชีวิตที่ดีสมบูรณ์ได้ เป็นกระแสความคิดที่มีอิทธิพลและเป็นส่วนหนึ่งของอุดมการณ์ของขบวนการทางสัมคมในประเทศไทย โดยเฉพาะขบวนการภาคประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรในท้องถิ่นและภูมิภาค
สารบัญ
คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ 1
คำนำจากผู้เขียนในการพิมพ์ครั้งที่ 1
คำนำจากผู้เขียนในการพิมพ์ครั้งที่ 2
คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ 2
บทที่ 1 การศึกษาเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยยุคแรกเริ่ม
บทที่ 2 พัฒนาการความคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองไทย, พ.ศ. 2490 - 2500
บทที่ 3 พัฒนาการความคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองไทย, พ.ศ. 2501 – 2525
บทที่ 4 บทสรุป : ภารกิจทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มเศรษฐศาสตร์การเมือง
บรรณานุกรม