อำลาพุทธราชาชาตินิยม: วิพากษ์แนวคิดชาตินิยมแบบพุทธของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ***หนังสือหมด***
ISBN: 9786168215357
ผู้แต่ง : สุรพศ ทวีศักดิ์
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : ILLUMINATIONS EDITIONS
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2564
จำนวนหน้า : 200
'อำลาพุทธราชาชาตินิยมฯ' เล่มนี้ คือ การใช้กรอบคิดเสรีนิยมและโลกวิสัยมาวิพากษ์แนวคิดชาตินิยมแบบพุทธของท่าน ป.อ. ในประเด็นพื้นฐาน คือ
-ปัญหาการยืนยันพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติกับเสรีภาพทางศาสนา
-ปัญหาการยืนยันแนวคิดและประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างพุทธศาสนากับรัฐในยุคสังคมจารีตมาปรับใช้กับสังคมประชาธิปไตยสมัยใหม่
-การสร้างมายาคติว่าพระสงฆ์อยู่เหนือการเมือง
-ความย้อนแย้งของการใช้ธรรมมาธิปไตยมาแก้ปัญหาประชาธิปไตย
-การบังคับเรียนวิชาพระพุทธศาสนาในหลักสูตรการศึกษาของชาติที่ขัดหลักเสรีภาพทางศาสนา
-การวิพากษ์จริยธรรมตะวันตกอย่างผิดๆ ว่า จริยธรรมตะวันตกไม่ให้เสรีภาพเหมือนจริยธรรมพุทธศาสนา
-และการอ้างอย่างผิดๆ ว่า ถ้ามีศีล 5 แล้วสิทธิมนุษยชนก็ไม่จำเป็น
หนังสือ อำลาพุทธราชาชาตินิยม: วิพากษ์แนวคิดชาตินิยมแบบพุทธของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) มาพร้อมที่คั่นหนังสือ 1 ชิ้น
'อำลาพุทธราชาชาตินิยมฯ' เล่มนี้ คือ การใช้กรอบคิดเสรีนิยมและโลกวิสัยมาวิพากษ์แนวคิดชาตินิยมแบบพุทธของท่าน ป.อ. ในประเด็นพื้นฐาน คือ
-ปัญหาการยืนยันพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติกับเสรีภาพทางศาสนา
-ปัญหาการยืนยันแนวคิดและประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างพุทธศาสนากับรัฐในยุคสังคมจารีตมาปรับใช้กับสังคมประชาธิปไตยสมัยใหม่
-การสร้างมายาคติว่าพระสงฆ์อยู่เหนือการเมือง
-ความย้อนแย้งของการใช้ธรรมมาธิปไตยมาแก้ปัญหาประชาธิปไตย
-การบังคับเรียนวิชาพระพุทธศาสนาในหลักสูตรการศึกษาของชาติที่ขัดหลักเสรีภาพทางศาสนา
-การวิพากษ์จริยธรรมตะวันตกอย่างผิดๆ ว่า จริยธรรมตะวันตกไม่ให้เสรีภาพเหมือนจริยธรรมพุทธศาสนา
-และการอ้างอย่างผิดๆ ว่า ถ้ามีศีล 5 แล้วสิทธิมนุษยชนก็ไม่จำเป็น
สุดท้ายผมเสนอว่า ทำไมเราจึงควรอำลาพุทธราชาชาตินิยม และจะอำลากันอย่างไร ควรแยกศาสนากับรัฐและยกเลิกการบังคับเรียนศาสนาในหลักสูตรการศึกษาของชาติ โดยให้เรียนวิชาปรัชญาศีลธรรมหรือจริยศาสตร์แทนบนหลักการและเหตุผลอะไร
สารบัญ
คำนำ
เกริ่นนำ
บทที่ 1 จากพุทธศักดินาสู้พุทธราชาชาตินิยม
บทที่ 2 ปัญหาศาสนาประจำชาติกับเสรีภาพทางศาสนา
บทที่ 3 ไม่แยกศาสนากับรัฐ แก้ปัญหาหรือสร้างปัญหา
บทที่ 4 ปัญหาพระสงฆ์อยู่เหนือการเมืองและธรรมาธิปไตยกับประชาธิปไตย
บทที่ 5 เพื่อไม่ถูกลวงให้นับถือศาสนาจริยธรรมสากล คนไทยทุกคนควรเรียนจริยธรรมพุทธศาสนา
บทที่ 6 อำลาพุทธราชาชาตินิยม จะอยู่ร่วมกันได้ไหม (บนหลักความยุติธรรมสาธารณะของจอร์น รอลส์)
บรรณานุกรม