บทสำรวจความคิดทางการเมืองของ อันโตนิโอ กรัมชี่
ISBN: 9786165620178
แปลจากหนังสือ : A survey of Gramsci's political thought
ผู้แต่ง : วัชรพล พุทธรักษา
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : สมมติ
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 2 กันยายน 2563
จำนวนหน้า : 240
แนวความคิดของกรัมซี่นั้น 'ทรงพลัง' และมีความสำคัญอย่างยิ่งในการศึกษา 'เชิงวิพากษ์' กล่าวคือ ความคิดทางการเมืองและสังคมของกรัมชี่นั้น มีความสำคัญยิ่งในการเป็นเครื่องมือเผยให้เห็นถึงการทำงานของอำนาจนำ ที่ยึดโยงและครอบงำชีวิตทางสังคมและการเมืองของเราในแง่มุมต่างๆ การศึกษาแนวคิดของกรัมชี่ช่วยให้เราเข้าใจรูปแบบความสัมพันธ์เชื่อมโยงเชิงอำนาจระหว่างกลุ่มพลังต่างๆ ได้ และแน่นอน การทำความเข้าใจรูปแบบของอำนาจนำในมิติต่างๆ นั้นย่อมมีประโยชน์มากกว่าเพียงการเรียนรู้เพื่อตอบสนองความใคร่รู้ทางวิชาการเท่านั้น แต่การทำความเข้าใจอำนาจนำย่อมนำไปสู่หนทางของการต่อต้าน / ขัดขืน เพื่อนำไปสู่การต่อสู้เพื่อปลดแอกมนุษย์จากอำนาจครอบงำในมิติต่างๆ ได้ในท้ายที่สุด
-บางส่วนจาก คำนำผู้เขียน
สารบัญ
คำนิยม
คำนำผู้เขียน
บทที่ 1 บทนำ: สถานะของกรัมชี่ศึกษาในปัจจุบัน
บทที่ 2 สังเขปชีวประวัติและบริบททางสังคมการเมืองของกรัมชี่
- ช่วง 1891-1911: ซาร์ดิเนีย
- ช่่วง 1911-1920: ตูริน
- การปฏิวัติ 1917: แรงบันดาลใจสำหรับอันโตนิโอ กรัมชี่
- สมัยฟาสซิสต์และพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี 1921-1926
- ชีวิตในคุก 1926-1937
บทที่ 3 แนวคิดทางการเมืองก่อนถูกคุมขัง: สภาโรงงานทฤษฎีและการปฏิบัติ
- รากฐานทางทฤษฎีของแนวคิดสภาโรงงาน
ฟรีดริช เฮเกล
คาร์ล มาร์กซ์
วลาดิมีร์ เลนิน
- ทฤษฎีสภาโรงงาน
โครงสร้างของสภาโรงงาน
สภาโรงงานและสหภาพแรงงาน
-สองปีสีแดงแห่งการปฏิวัติ กับภาคปฏิบัติการของสภาโรงงาน
บทที่ 4 ความคิดทางการเมืองของกรัมชี่หลังถูกคุมขัง: การครองอำนาจนำและแนวความคิดทางการเมืองที่สำคัญ
- การวิพากษ์แนวคิดกำหนดนิยมแปบบกลไก
1.บทวิพากษ์กำหนดนิยมแบบกลไกในสมุดบันทึกจากคุก
2.แนวทางของกรัมชี่: ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างส่วนล่างและโครงสร้างส่วนบน
3.รัฐแบบองค์รวม: รัฐ = ประชาสังคม + สังคมการเมือง
- กลุ่มพลังทางสังคม
1.กลุ่มพลังทางสังคม
2.ดุลยภาพของกลุ่มพลังทางสังคม: สงครามยึดพื้นที่ทางความคิดและการปฏิวัติเงียบ
3.การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกลุ่มพลังต่างๆแบบกรัมชี่
- การครองอำนาจนำและกลุ่มประวัติศาสตร์
1.แนวคิดการครองอำนาจนำ
2.แนวคิดกลุ่มประวัติศาสตร์
3.แนวคิดเรื่องปัญญาชนของกรัมชี่
- วิกฤตการณ์ของอำนาจนำ
บทที่ 5 การศึกษากรัมชี่ร่วมสมัย: โรเบิร์ต ค็อกซ์ และสำนักนีโอกรัมเชี่ยนในทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ/เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
- Cox's Gramsci, Hegemont and international Relations: An Essay in Method' (1983)
- สำนักคิดนีโอกรัมเชี่ยน
- ข้อวิพากษ์ที่มีต่อกรอบแนวคิดนีโอกรัมเชี่ยน
สรุป
บทที่ 6 บทสรุป: คุณูปการของการศึกษาแนวความคิดทางการเมืองของกรัมชี่ ประโยชน์ และการนำไปประยุกต์ใช้ของแนวความคิดต่างๆ
บรรณานุกรม
ดรรชนี