มหามงคลเหนือเกล้าฯ
ISBN: 9786167166735
ผู้แต่ง : พ.สุวรรณ
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : บ้านมงคล
ปีที่พิมพ์ : 2559
จำนวนหน้า : 216
ในวโรกาสครบ ๖๐ ปีแห่งการครองราชย์ขององค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นับเป็นห้วงเวลาที่เป็นมหามงคลยิ่งของคนไทยทุกคน
ปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ปรากฎเป็นจริงซึ่งคนไทยทุกคนทราบซึ้งกันดี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์ที่มี “บุญญาธิการ” มากที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทยพระองค์หนึ่ง พระองค์ทรงรักษาศีล บำเพ็ญทาน เจริญภาวนา และทรงยึดมั่นในทศพิธราชธรรมในคราวที่พระองค์ทรงผนวชเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ทรงรักษาศีล ๒๒๗ ข้ออย่างเคร่งครัด และเมื่อเป็นฆราวาส พระองค์ทรงรักษาศีลธรรมตามแบบอย่างของพุทธศาสนิกชนที่ดี ทรงสนับสนุนให้ประชาชนรักษาศีลสมาทาน ส่วนคนที่ไม่ได้นับถือศาสนาพุทธก็ทรงสอนให้ยึดหลักธรรมของศาสนาที่นับถือ โดยมุ่งเน้นให้ทำความดี พระองค์ทรงใช้กฎหมายและกฎศาสนา ผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อเป็นหลักในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น พระองค์ทรงปฏิบัติตามเบญจศีลเบญจธรรมอย่างมุ่งมั่น สมควรแก่การถวายราชสักการะยิ่ง ดังนั้นปวงชนชาวไทยจึงกราบพระองค์ท่านเสมือนเทพศักดิ์สิทธิ์ที่ควรแก่การสักการะเทิดทูนบูชา
สารบัญ
- มหามงคลปีติ : รับสั่ง “ฉันจะอยู่ถึง ๑๒๐ ปี”
- บทบวงสรวงบูรพกษัตราธิราชเจ้า
- พระราชดำรัสวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙
- สุดปีติ “ในหลวง” หายประชวร
- อาหารพระราชทาน
- หากพระองค์อยู่ถึง ๑๒๐ ปี ประเทศไทยจะดีขึ้นมาก
- ทรงสร้าง “พระสมเด็จจิตรลดา”
- ทรงผนวชพระราชกรณียกิจทางพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุด
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๒ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๓ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๔ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๕ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๖ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๗ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๘ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๙ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๑๐ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๑๑ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๑๒ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๑๓ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๑๔ แห่งการทรงผนวช
- พระราชกรณียกิจในวันที่ ๑๕ แห่งการทรงผนวช
- ๑.วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว)
- ๒.วัดบวรนิเวศวิหาร
- ๓.วัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์)
- ๔.พระปฐมเจดีย์
- พระมหาธรรมิกมหาราชาธิราชเจ้า