Kledthai.com

ตะกร้า 0

อุดมการณ์และกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ (พิมพ์ครั้งที่ 3)

ISBN: 9786164860926

แปลจากหนังสือ : Ideology and Ideological State Apparatuses

ผู้แต่ง : หลุยส์ อัลธูแซร์ (Louis Althusser)

ผู้แปล : กาญจนา แก้วเทพ

สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์ TEXT

ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 3 กรกฎาคม 2566

จำนวนหน้า : 208

ซีรี่ส์:
-
พร้อมส่ง
ISBN:
9786164860926
ราคาพิเศษ ฿198.00 ราคาปรกติ ฿220.00

อุดมการณ์และกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ (Ideology and Ideological State Apparatuses)

หลุยส์ อัลธูแซร์ (Louis Althusser) เขียน

กาญจนา แก้วเทพ แปล

พิมพ์ครั้งที่ 3 กรกฎาคม 2566

.

จากปกหลัง

“การพัฒนาทฤษฎีเรื่องรัฐให้มีความคืบหน้าต่อไปนั้น ลำพังเพียงการแยกความแตกต่างระหว่าง "อำนาจของรัฐ" กับ "กลไกของรัฐ" ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนับว่ายังไม่เพียงพอ เรายังจำเป็นต้องพลิกดูอีกด้านหนึ่งของเหรียญของกลไกรัฐ โดยที่ด้านหนึ่งนั้นเราได้มองเห็นแล้วว่า คือด้านที่ปราบปรามกดขี่ หากแต่เราจะต้องไม่ปะปนระหว่างด้านทั้งสองของเหรียญนี้ สำหรับอีกด้านหนึ่งของเหรียญกลไกรัฐนี้ ข้าพเจ้าจะขนานนามโดยอาศัยลักษณะของตัวมันว่า "กลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ" ...

-หลุย อัลธูแชร์

.

บางส่วนจาก สาส์นจากบรรณาธิการ

“หลุยส์ อัลธูแซร์” (Louis Althusser) นักปรัชญาสกุลความคิดแบบมาร์กซ์สายโครงสร้าง (Structural Marxism) คนสำคัญ ที่มีอิทธิพลทางความคิดต่อนักคิดสกุลความคิดแบบมาร์กซ์ (Marxism) และสกุลความคิดหลังมาร์กซิสม์ (Post-Marxism) ในปัจจุบัน เช่น สลาวอย ชิเช็ค (Slavoj Žižek), อแลง บาดียู (Alain Badiou), เออร์เนสโต ลาเคลา (Ernesto Laclau), เฟรดริค เจมสัน (Fredric Jameson) ฯลฯ

สารบัญ

คำแถลงจากสำนักพิมพ์

สาส์นจากบรรณาธิการ

คำนำผู้แปล/เรียบเรียง

.

อุดมการณ์และกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ

-กระบวนการผลิตซ้ำของเงื่อนไขทางการผลิต

-การผลิตซ้ำขึ้นมาอีกเพื่อสืบทอดปัจจัยการผลิต

-การผลิตซ้ำกำลังแรงงาน

-โครงสร้างส่วนล่างและโครงสร้างส่วนบน

-รัฐ

-จากทฤษฎีในระดับ "พรรณนา" มาสู่ทฤษฎี "ในระดับแท้จริง"

-สาระสำคัญของทฤษฎีเรื่องรัฐของลัทธิมาร์กซ์

-กลไกทางด้านอุดมการณ์ของรัฐ (กอร.)

-อะไรคือ "กอร."

-การผลิตซ้ำความสัมพันธ์ทางการผลิต

-ว่าด้วยอุดมการณ์

-อุดมการณ์ไม่มีประวัติศาสตร์

-อุดมการณ์เป็นภาพแสดงตัวแทนของความสัมพันธ์ในระดับจินตนาการระหว่างปัจเจกบุคคลกับการดำรงอยู่ที่เป็นจริงของเขา

-อุดมการณ์เป็นตัวเรียกร้องปัจเจกบุคคลให้กลายเป็นองค์ประธานขึ้นมา

-ตัวอย่าง: อุดมการณ์ของคริสต์ศาสนา

-ปัจฉิมลิขิต

.

หลุยส์ อัลธูแชร์: ชีวิต ความคิด และผลงาน

-ประวัติ

-“ปมปัญหา” (problematic): ข้อเสนอใหม่ทางวิธีการของอัลธูแซร์

-การโจมตีพวกประวัติศาสตร์นิยม ลัทธิสมัครใจ และลัทธิมนุษยนิยม

-การปฏิเสธพวกประจักษ์นิยม (Empiricism)

-ทัศนะต่อปรัชญา

-วิทยาศาสตร์กับทฤษฎีแห่งความรู้

-วิทยาศาสตร์กับอุดมการณ์

-ลัทธิมาร์กซ์แบบโครงสร้างนิยม

-ข้อเสนอใหม่ในการวิเคราะห์สังคม

-สรุป

ประวัติผู้แปล

เขียนรีวิวสินค้าของคุณเอง
คุณกำลังรีวิว:อุดมการณ์และกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ (พิมพ์ครั้งที่ 3)
คะแนนของคุณ