6 ตุลา ลืมไม่ได้ จำไม่ลง: ว่าด้วย 6 ตุลา 2519 (ปกอ่อน)
ISBN: 9786167667843
ผู้แต่ง : ธงชัย วินิจจะกูล
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : ฟ้าเดียวกัน
ปีที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563
จำนวนหน้า : 344
6 ตุลา ลืมไม่ได้ จำไม่ลง
ตามหาลูก การทำร้ายศพเมื่อ 6 ตุลา คนยังคงยืนเด่นโดยท้าทาย
.....
การศึกษาความทรงจำ 6 ตุลาที่เปลี่ยนแปลงไปก็คือ การเขียนประวัติศาสตร์ของปีศาจที่รบกวนสำนึกทางสังคม..จนกว่าจะถึงจุดที่ความทรงจำอันอิหลักอิเหลื่อนั้นปิดฉากลง เพื่อจะสามารถก้าวต่อไปข้างหน้าได้อย่างมั่นใจ
- ธงชัย วินิจจะกูล
สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกันหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะได้รับความสนใจและตีพิมพ์ซ้ำอีกหลายครั้งเพื่อมีส่วนช่วยให้สังคมไทยได้คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับประวัติศาสตร์บาดแผลที่ "ลืมไม่ได้ จำไม่ลง" ซึ่งที่สุดแล้วอาจทำให้ผู้คนมองเห็นปัจจุบันได้ชัดเจนขึ้นและไม่กระทำผิดซ้ำรอยอีกในอนาคต
สารบัญ
คำนำสำนักพิมพ์ฉบับพิมพ์ครั้งแรก
คำนำสำนักพิมพ์ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2
คำนำผู้เขียนฉบับพิมพ์ครั้งแรก
คำนำผู้เขียนฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2
ภาค 1
บทที่ 1 ความทรงจำ/ความเงียบงันของประวัติศาสตร์บาดแผล: ความทรงจำอิหลักอิเหลื่อเรื่องการสังหารหมู่ 6 ตุลา 2519
บทที่ 2 "เราไม่ลืม 6 ตุลา": การจัดงานรำลึกถึงการสังหารหมู่ 6 ตุลา ในปี 2539
บทที่ 3 ตามหาลูก: จดจำและหวังด้วยความเงียบ
บทที่ 4 การทำร้ายศพเมื่อ 6 ตุลา: ใคร อย่างไร ทำไม
ภาค 2
บทที่ 5 - 6 ตุลาในความทรงจำของฝ่ายขวา 2519-2549: จากชัยชนะสู่ความเงียบ (แต่ยังชนะอยู่ดี)
บทคัดย่อ
ออกโรง ออกตัว และของคุณ
1. ศึกษาอะไรและอย่างไร?
2. 6 ตุลาคือชัยชนะที่น่ายินดี
3. วาทกรรม 6 ตุลาที่เปลี่ยนไประหว่าง 2520-2539
4. ความทรงจำประมาณ 30 ปีให้หลัง
5. อดีตในทัศนะของฝ่ายขวากับความเงียบที่จำเป็นและจำใจ
6. ทิ้งท้ายว่าด้วยความทรงจำและฝ่ายขวาขนานแท้
ภาคผนวก 1. เอกสารคดี 6 ตุลา ที่หอจดหมายเหตุสำนักงานอัยการสูงสุด
ภาคผนวก 2. ลักษณะและปัญหาของคำให้การพยานตำรวจคดี 6 ตุลา
ภาคผนวก 3. จำแนกประเภทพยานตำรวจในคดี 6 ตุลา
ภาคผนวก 4. รายชื่อผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519
ภาคผนวก
1. จดหมายถึงเพื่อนๆ โดมรวมใจและมิตรสหายเก่าๆ ทั้งหลาย
2. เดือนตุลา เช้าวันพุธ
3. คำประกาศ ณ วาระ 20 ปี 6 ตุลา
4. คนยังคงยืนเด่นโดยท้าทาย: ปาฐกถา 40 ปี 6 ตุลา 2519
ประวัติผู้เขียน
ประวัติการตีพิมพ์
บรรณานุกรม
ดรรชนี